สำหรับการ “คำนวณ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย เงินเดือน” นั้น จะคำนวณแตกต่างจากการจ่ายเงินประเภทอื่น ซึ่งจะคำนวณในลักษณะของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาแล้วนำมาเฉลี่ยเป็นรายเดือนอีกครั้งหนึ่ง ไม่ได้มีอัตราหักเป็นเปอร์เซ็นต์เหมือนการจ่ายค่าใช้จ่ายอื่นๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จาก บทความประเภทหัก ณ ที่จ่ายที่พบบ่อย ได้เลย |
นำเข้า-ส่งออกสินค้าและบริการ ต้องรู้ภาษีอะไรบ้าง
ภ.ง.ด.50 ก่อนยื่นภาษีเต็มปี แม่ค้าออนไลน์ควรตรวจให้ดีก่อนเซ็น
Highlight:
- ภ.ง.ด.50 คือเอกสารอีกหนึ่งชุดที่เจ้าของธุรกิจที่มีสถานะเป็นนิติบุคคลจะต้องใช้ยื่นเสียภาษี ภายในเดือนพฤษภาคม 2565 นี้
- สำหรับแม่ค้าออนไลน์ที่เป็นนิติบุคคลจะต้องเสียภาษีปีละ 2 ครั้ง คือ ภาษีครึ่งปีแรกโดยใช้แบบ ภ.ง.ด.51 และภาษีเต็มปีโดยใช้แบบภ.ง.ด.50
- การเสียภาษีให้พิจารณาว่ากิจการเข้าข่ายเป็น SMEs หรือไม่ และหลังจากที่เสียภาษีแล้วต้องเก็บเอกสารที่เกี่ยวข้องไว้อย่างน้อยเป็นเวลา 5 ปี
หัก ณ ที่จ่าย พนักงาน อย่างไร ก่อนจ่ายเงินเดือน
ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย คืออะไร ทำไมเราต้องถูกหัก
ภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย หรือ หัก ณ ที่จ่าย คือเงินที่คน “จ่าย” ที่จดทะเบียนเป็นบริษัทหรือนิติบุคคลต้อง “หัก” ไว้ก่อนที่จะจ่ายเงินให้กับคนรับที่เป็นนิติบุคคล หรือคนธรรมดาก็ได้ แล้วนำส่งเป็นภาษีให้กรมสรรพากรไม่เกินวันที่ 7 ของเดือนถัดไป |
ภ.ง.ด.1 ก ต้องส่งก่อนสิ้นเดือน ก.พ. นะ คุณทำสรุปเงินเดือนและภาษีของพนักงานแล้วหรือยัง
อ่านสั้นๆ:
- ภ.ง.ด.1 ก คือใบสรุปการจ่ายเงินเดือน เงินได้ประเภทอื่นๆ และภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่ายของพนักงานรอบรายปี ซึ่งเจ้าของธุรกิจจะต้องทำส่งกรมสรรพากรภายในเดือนกุมภาพันธ์นี้
- ภ.ง.ด.1 และภ.ง.ด.1 ก แตกต่างตรงที่ ภ.ง.ด.1 ไม่ต้องแจ้งพนักงานที่มีรายได้ไม่ถึงฐานที่ต้องเสียภาษี และต้องทำส่งกรมสรรพากรทุกเดือน ขณะที่ภ.ง.ด. 1 ก ต้องแจ้งพนักงานทุกคน แต่ทำส่งกรมสรรพากรแค่ปีละหนึ่งครั้ง